

 |
|



 |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ชุมชนลาดชะโดมีอายุเก่าแก่ ราวสมัยหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 หรือ ราวปีพ.ศ. 2310 ก่อตั้งขึ้นโดยชาวกรุงเก่าที่อพยพ หนีศึกสงครามมาในครั้งนั้น พื้นที่บริเวณที่ตั้งชุมชนแต่เดิมเรียกว่า “บ้านจักราช” แต่การที่หมู่บ้านนี้มีชื่อว่า “บ้านลาดชะโด” น่าจะมีที่มาจากสภาพ |
|
|
พื้นที่ ที่เป็นที่ลาดริมน้ำ และความอุดมสมบูรณ์ของคูคลองที่มีอยู่มากมาย และอุดมไปด้วยปลาชนิดต่างๆ โดยเฉพาะปลาชะโด ถึงขนาดมีคำเตือนกันว่าเวลาพายเรือ ให้ระวังไม้พายจะไปโดนปลาชะโดเข้า |
 |
|
|
|
|
เทศบาลตำบลลาดชะโด เดิมมีฐานะเป็นสุขาภิบาลลาดชะโด ได้ก่อตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการจัดตั้งสุขาภิบาลลาดชะโด อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2514 และต่อมาได้มีพระราชบัญญัติ เปลี่ยนแปลงฐานะ |
|
|
สุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 ให้ยกฐานะเทศบาล โดยมีผลบบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 |
|
|
|
|
เทศบาลตำบลลาดชะโด ตั้งอยู่ เลขที่ 99 หมู่ 1ตำบลหนองน้ำใหญ่ อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งอยู่ห่างจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประมาณ 40 กิโลเมตร มีพื้นที่ครอบคลุม 37.00 ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
|
|
ทิศเหนือ |
จากหลักเขตที่ 1 ซึ่งตั้งอยู่จุดรวมของเส้นแบ่งเขตนาคู ตำบลดอนลาน และตำบลหนองน้ำใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงหลักเขตที่ 2 ซึ่งตั้งอยู่บนเส้นแบ่งเขต ตำบลหนองน้ำใหญ่ กับตำบลอมฤต ห่างจากริมคลองบางคลี่ ฝั่งเหนือไป ทางทิศเหนือ ระยะ 990 เมตร |
ทิศใต้ |
จากหลักเขตที่ 3 เลียบตามแนวเส้นแบ่งเขต ตำบลจักราช กับตำบลลาดชิดไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 4 ซึ่งตั้งอยู่ริมปากคลองลาดหลวงฝั่งตะวันออกจากหลักเขตที่ 4 ตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ถึงหลักเขตที่ 5 ซึ่งตั้งอยู่บนเส้นแบ่งเขตของ ตำบลจักราชกับตำบลดอนลาน ห่างจากจุดบรรจบระหว่างแนวเส้นแบ่งเขตตำบลจักราช ดอนลาน กับคลองบางคลี่ใต้ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ระยะ 100 เมตร |
ทิศตะวันออก |
จากหลักเขตที่ 2 ตามแนวเส้นแบ่งเขตตำบลหนองน้ำใหญ่กับตำบลอมฤต ผ่านคลองบางคลี่แล้วเลียบตามแนวเส้นแบ่งเขตตำบลจักราชกับตำบลตาลาน และตำบลลาดชิด |
ทิศตะวันตก |
จากหลักเขตที่ 5 เลียบตามแนวเส้นแบ่งเขตของตำบลหนองน้ำใหญ่ กับตำบลดอนลาน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ บรรจบหลักเขตที่ 1 |
|
|
|
 |
|
|
|
ลักษณอากาศแบบมรสุม มี 3 ฤดู คือ |

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ กุมภาพันธ์ - เมษายน |

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ พฤษภาคม - ตุลาคม |

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ พฤศจิกายน - มกราคม |
|
|
|
|
|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตำบลลาดชะโด ประกอบอาชีพการเกษตรกรรม, การค้าขาย, การประมง, รับจ้างทั่วไป และผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ คือ การปลูกข้าว การประมง |
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 7,905 คน แยกเป็น |

 |
ชาย 3,824 คน |
คิดเป็นร้อยละ 48.37 |

 |
หญิง 4,081 คน |
คิดเป็นร้อยละ 51.63 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,616 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 213.65 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
|
ตำบลหนองน้ำใหญ่ |
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
ชุมชนบ้านหนองใหญ่ |
319 |
332 |
651 |
222 |
|
 |
2 |
|
ชุมชนบ้านท้ายตลาด, ชุมชนบ้านตลาด |
358 |
389 |
747 |
336 |
 |
|
3 |
|
ชุมชนบ้านเขตวัด |
319 |
316 |
635 |
185 |
|
 |
4 |
|
ชุมชนบ้านตรอกใหญ่ |
128 |
131 |
259 |
86 |
 |
|
5 |
|
ชุมชนบ้านเกาะแก้ว |
328 |
374 |
702 |
199 |
|
 |
6 |
|
ชุมชนบ้านน้ำใหญ่ |
369 |
367 |
736 |
188 |
 |
|
7 |
|
ชุมชนบ้านน้ำแปลง |
257 |
260 |
517 |
227 |
|
 |
8 |
|
ชุมชนบ้านลาดปลา |
193 |
215 |
408 |
129 |
 |
|
9 |
|
ชุมชนบ้านน้ำเรียง |
215 |
231 |
446 |
139 |
|
 |
10 |
|
ชุมชนบ้านน้ำพระ |
106 |
143 |
249 |
70 |
 |
|
11 |
|
ชุมชนบ้านคลองขุด |
211 |
233 |
444 |
149 |
|
|
ตำบลจักราช |
 |
1 |
|
ชุมชนบ้านใหม่ |
239 |
237 |
476 |
142 |
 |
|
2 |
|
ชุมชนบ้านใต้ล่าง |
151 |
151 |
302 |
90 |
|
 |
3 |
|
ชุมชนบ้านใต้ |
89 |
102 |
191 |
60 |
 |
|
4 |
|
ชุมชนบ้านเหนือ |
108 |
103 |
211 |
56 |
|
 |
5 |
|
ชุมชนบ้านต้นสะพาน |
91 |
102 |
193 |
69 |
 |
|
6 |
|
ชุมชนบ้านน้ำกลาง, ชุมชนบ้านน้ำคลอง |
343 |
395 |
738 |
269 |
|
 |
|
|
รวมทั้งสิ้น |
3,824 |
4,081 |
7,905 |
2,616 |
 |
|
|
***หมายเหตุ ตำบลหนองน้ำใหญ่ หมู่ 2 มี 2 ชุมชน และตำบลจักราช หมู่ 6 มี 2 ชุมชน***
*****ข้อมูล ณ วันที่ 16 มีนาคม 2559 สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลลาดชะโด***** |
|
|
|
|
|
|
|